มุมสุขภาพลูกพรุน




สรรพคุณ และ ประโยชน์ของลูกพรุน
สรรพคุณของลูกพรุน และ ประโยชน์ของลูกพรุน นั้นมีมากมายอย่างเหลือล้น วันนี้เอ็นทรีเคดอทไอเอ็นดอททีเอช จึงขอนำบทความ สรรพคุณของลูกพรุน และ ประโยชน์ของลูกพรุน มาบอกเล่าให้คนรักสุขภาพทั้งหลายเช่นคุณได้รู้กันค่ะ แล้วยิ่งช่วงเวลานี้ด้วยแล้วมีคนให้ความสนใจในผลไม้อย่างลูกพรุนเป็นจำนวนมาก และอีกชื่อหนึ่งของลูกพรุนก็คือลูกพลัมและไม่ว่าจะเป็น สรรพคุณของลูกพรุน และ ประโยชน์ของลูกพรุน หรือ สรรพคุณของลูกพลัม และ ประโยชน์ของลูกพลัม ที่คุณกำลังมองหาข้อมูลด้านสุขภาพอยู่ล่ะก็ วันนี้เอ็นทรีเคดอทไอเอ็นดอททีเอช  ได้จัดเตรียมบทความ สรรพคุณของลูกพรุน และ ประโยชน์ของลูกพรุน หรือ สรรพคุณของลูกพลัม และ ประโยชน์ของลูกพลัม มาบอกกันแล้วค่ะ ลูกพรุน หรือ ลูกพลัม นั้นคนส่วนใหญ่มักน้ำมาแปรรูปที่หลากหลายและที่เป็นนิยมอย่างมาก และ ณ ปัจจุบันคนให้ความสนใจที่จะดื่มน้ำลูกพรุนเช่นเดียวกัน เพราะด้วย สรรพคุณของลูกพรุน และ ประโยชน์ของลูกพรุน หรือ สรรพคุณของลูกพลัม และ ประโยชน์ของลูกพลัม ที่มีมากมายนั่นเองค่ะ นั้นอย่ารอช้ามาดูบทความ สรรพคุณของลูกพรุน และ ประโยชน์ของลูกพรุน หรือ สรรพคุณของลูกพลัม และ ประโยชน์ของลูกพลัม ที่เอ็นทรีเคดอทไอเอ็นดอททีเอช นำมาฝากกันเลยดีกว่า


สรรพคุณ / ประโยชน์ของลูกพรุน
- แล้วอะไรอยู่ในลูกพรุนบ้าง ในลูกพรุนจะประกอบไปด้วยสารอาหารที่มีประโยชน์ต่อร่างกายดังนี้ เหล็ก (Iron) เป็นส่วนประกอบที่ใช้ในการสังเคราะห์ฮีโมโกลบินในเม็ดเลือดแดงซึ่งเป็นที่รู้จักกันดีว่าผู้หญิงเรานั้นในแต่ละเดือนต้องสูญเสียเลือดประจำเดือนไปเท่าไร ธาตุเหล็กจึงมีความสำคัญเป็นอันดับต้นๆ ที่ขาดไม่ได้ ใครอยากมีเลือดฝาดอย่ามองข้ามลูกพรุน

- วิตามิน B2 (Riboflavin) ช่วยในการสร้างเม็ดเลือดแดง กระบวนการสร้างช่วยในการเจริญเติบโตของเซลล์ โดยเฉพาะกับผิวหนัง เล็บและผม

- แคลเซียม (Calcium) ช่วยเสริมสร้างกระดูกและฟัน รักษาระดับการเต้นของหัวใจ ช่วยระบบประสาทให้เป็นปกติ

- วิตามิน C (Ascorbic Acid) สารต้านอนุมูลอิสระ (Anti-oxidant) เป็นส่วนประกอบพิเศษที่ช่วยป้องกันเซลล์จากการถูกทำลาย เมื่อเซลล์ถูกทำลายโอกาสการเป็นมะเร็งก็มีสูงขึ้น วิตามิน C มีคุณสมบัติเป็นสารต้านอนุมูลอิสระ ดังนั้นการที่ลูกพรุนมี Anti-oxidant ในปริมาณสูงจะช่วยทำให้ร่างกายและสมองแก่ตัวช้าลงและมีอัตราการเกิดโรคมะเร็งน้อยลงมีส่วนช่วยในกระบวนการสังเคราะห์เม็ดเลือดแดงช่วยให้ร่างกายต่อต้านแบคทีเรียได้ดียิ่งขึ้น


- วิตามิน E เป็น Anti-oxidant ช่วยป้องกันการเกิดปฏิกิริยาของออกซิเจนที่ไม่สมบูรณ์ภายในร่างกาย ช่วยการไหลเวียนของโลหิต ช่วยยืดอายุของเม็ดเลือดแดงทำให้ผิวพรรณเนียนนุ่มชุ่มชื่น ไม่เหี่ยวย่นก่อนวัยอันควร

- ลูกพรุนนั้นอุดมไปด้วยกากใยหรือไฟเบอร์สูงมาก มีคุณสมบัติเป็นยาระบาย บรรเทาอาการท้องผูกได้อย่างปลอดภัยทั้งเด็กและผู้ใหญ่ เป็นประโยชน์ทำให้ขับถ่ายได้คล่อง โดยเฉพาะอย่างยิ่งชีวิตปัจจุบันที่ฝากไว้กับอาหารถุง ซึ่งแทบจะไม่มีอะไรที่เป็นกากใยเลย ลูกพรุนเป็นคำตอบที่ไม่น่ามองข้าม
 ประโยชน์
           ๑. มีกากใยธรรมชาติ Dietary fiber จำนวนมากหลายชนิด ซึ่งเป็นทั้งชนิดที่ละลายน้ำได้ และละลายน้ำไม่ได้ ยังมีส่วนช่วยลดโคเลสเตอรอลได้
           ๒. ลดไขมันในเลือด (LDL cholesterol)
           ๓. มีสารต้านอนุมูลอิสระที่มีประสิทธิภาพสูงจำนวนมาก
           ๔. เป็นอาหารที่มีวิตามินซี วิตามินอี แหล่งที่ดีของธาตุเหล็ก และไฟเบอร์ หรือกากใยอาหาร
           ๕. น้ำลูกพรุนแม้จะมีรสหวานแต่ประกอบไปด้วยน้ำตาลหลายชนิด ฟรุคโตสและซอร์บิทอล ซึ่งไม่ทำให้ระดับน้ำตาลในเลือดสูงอย่างรวดเร็ว
           ๖. ช่วยระบายรักษาอาการท้องผูกได้อย่างปลอดภัย ทั้งในผู้ใหญ่และแม้ในเด็กเล็ก (แต่ถ้าเป็นเด็กเล็กก็ควรปรึกษาแพทย์ด้วยเสมอ)

ข้อควรระวังในน้ำลูกพรุน
           เนื่องจากน้ำลูกพรุน มีโปแตสเซียมสูง จึงไม่ควรรับประทานในผู้ป่วยโรคไตวาย ระยะหลังที่ได้รับการ ล้างไต แต่ถ้าไม่ได้เป็นโรคไตชนิดนี้ก็จะรับประทานได้โดยปลอดภัย และไม่ทำให้เป็นโรคไตใดๆ ทั้งสิ้น รับประทานจะมีผลดีต่อสุขภาพ โดยไม่ทำให้เกิดโรคไตวายแต่อย่างใด นอกจากนี้น้ำลูกพรุน มีส่วนช่วยระบาย จึงไม่ควรรับประทานเป็นจำนวนมาก เพราะจะทำให้ท้องเสียได้ในบางคน ไม่ควรรับประทานครั้งละมากๆ รับประทานครั้งละ ๑๕-๓๐ ซีซี ต่อคน น้ำลูกพรุนจึงเป็นอาหารที่มีประโยชน์มีวิตามิน แร่ธาตุและใยอาหารสูง มีสารต้านอนุมูลอิสระ ที่มีประสิทธิภาพเป็นจำนวนมาก ทั้งยังมีรสชาติอร่อย น่ารับประทาน และยังช่วยระบาย ซึ่งนับเป็นยาระบายที่ปลอดภัยแม้ในเด็ก เป็นน้ำผลไม้ที่มีผู้นิยมรับประทานทั่วโลก ดังนั้นนับเป็นน้ำผลไม้ที่มีคุณประโยชน์ และน่าลองรับประทานเป็นอย่างยิ่ง
Share this video :

บทความที่ได้รับความนิยม

 
Support : |
Copyright © 2011-2012 อาชีพพารวย - All Rights Reserved
เข้าสู่ปีที่ 2 อาชีพพารวย เพื่อนคู่คิดนักเกษตร พ.ศ. 2555
เว็บไซต์เพื่อนเกษตร